วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2551

วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2551

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2551






การใช้งาน hotoshop
ในการศึกษาวิชา มัลติมีเดียเพื่องานนิเทศศาสตร์ (PR 315) จำเป็นอย่างยิ่งที่นักศึกษาจะต้องมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานบนระบบวินโดว์ และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างงานกราฟฟิค
ในโปรแกรม Photoshop เพื่อที่จะสร้างงานต่างๆ บนหน้าเวบไซต์ได้ สำหรับในวิชานี้จะมีการเรียนภาคปฏิบัติในโปรแกรมหลายประเภท ได้แก่ Adobe Photoshop Cs, Macromedia Dreamweaver, Macromedia Flash MX เป็นต้น ในวิชานี้เราจะใช้โปรแกรม Photoshop CS ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นล่าสุดที่ยังคงมีความสามารถโดดเด่นในเรื่องเครื่องมือสร้างภาพและแต่งภาพที่ครบถ้วนและมีหลายสิ่งที่ี่ได้มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น มีหลายสิ่ง ที่เพิ่มเข้ามา สำหรับผู้ที่เคยใช้งานPhotoshopในเวอร์ชั่นอื่นๆ อาจมองว่าไม่ได้ในเวอร์ชั่นอื่นๆ อาจมองว่าไม่ได้มีอะไรแตกต่างมากนักแต่สำหรับผู้ใช้งานเป็นครั้งแรกอาจต้องเรียนรู้ แต่สำหรับผู้ใช้งานเป็นครั้งแรกอาจต้องเรียนรู้เรื่องเครื่องมือและเทคนิคต่างๆ มากมาย อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพการทำงานของ Photoshop นั้นอาจมีมากมายเหลือเกินไม่ว่าจะเป็นงานด้านสิ่งพิมพ์ นิตยสารและงานมัลติมีเดียซึ่งในงานออกแบบเว็บไซต์ ภาพในหน้างานเว็บเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งนอกเหนือจากเนื้อหาและสาระอื่นๆ แล้ว ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ศึกษาในวิชามัลติมีเดียเพื่องานนิเทศศาสตร์จะต้องเรียนรู้ในห้องปฎิบัติการและฝึกฝนจนเกิดความชำนาญเพื่อให้งานการออกแบบและตกแต่งภาพที่ใช้บนเวบไซต์มีความโดดเด่น ในการทำงานของโปรแกรมประมวลผลงานภาพบนคอมพิวเตอร์มีอยู่ 2 รูปแบบ ได้แก่ การประมวลภาพแบบ Vector เป็นการประมวลผลแบบอาศัยหลักการคำนวณทางคณิตศาสตร์ การเก็บภาพแสดงผลแบบBitmap เป็นการประมวลผลแบบอาศัยการอ่านค่าสีในแต่ละ Pixel ซึ่งโปรแกรม Photoshop
1. การเข้าสู่โปรแกรม Photoshop
- Click ไอคอนรูป บน Desktop
- หรือ Click ปุ่ม Start>Program>Adobe Photoshop
2. ก่อนจะเริ่มทำงานจะต้องกำหนดค่าให้กับมาเป็นค่า Default
.- Reset Palette Location
- ใช้ Mouse Click ขวาที่ Option bar และเลือก Reset all tool
3. การเปิดหน้างานใหม่
- New หรือ กด Ctrl + N
- เปิดหน้าต่าง New
- กำหนดค่างานสำหรับสร้างงานเวบไซต์
4. การย่อ-ขยายภาพโดยใช้ Zoom Tool
การย่อ-ขยายภาพจะช่วยให้สามารถตกแต่งภาพได้ง่ายและมีความละเอียดมากขึ้นสามารถขนาน
ภาพและตกแต่งได้จนถึงส่วนที่ย่อยที่สุดของภาพ คือ pixel ต่อ pixel
5. กำหนดมุมมองของภาพโดยการใช้ Hand Tool
ในกรณีที่ภาพมีขนาดใหญ่ ไม่สามารถมองเห็นทุกส่วนของภาพได้ในหน้าจอสามารถเลื่อนภาพเพื่อดูภาพในทุกจุดได้
ภายในหน้าจอเดียวได้โดยไม่ต้องอาศัย Scrollbar อีกต่อไป ด้วยวิธีง่ายๆ คือการใช้ Hand Tool ที่อยู่ใน Toolbox
6. การสร้าง Selection
การสร้าง Selection คือ การเลือกพื้นที่เพื่อการแก้ไขและตกแต่งภาพ การสร้าง Selection ในโปรแกรมPhotoshop หมายถึง
หากต้องการปรับแต่งภาพต้องมีการเลือกพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งก่อน เนื่องจากภาพบางภาพต้องการปรับแต่งเฉพาะบางจุด
8. การใช้ Selection โดยใช้ Lasso Tool
เครื่องมือในส่วนของ Lasso Tool Lasso Tool เป็นการ Selection โดยการเลือกพื้นที่การทำงานแบบอิสระโดยการทำงาน คือ ลาก Selection ตามพื้นที่ที่ต้องการและจุดสิ้นสุดนั้นต้องบรรจบกลับที่จุดเริ่มต้นรูปแบบเครื่องมือ Lasso Tool Lasso Tool เป็นการเลือกแบบอิสระ ผู้ใช้งานสามารถบังคับได้ด้วยมือผ่านการลากเมาส์ การใช้งานให้ Click เลือกเครื่องมือ Lasso Tool และใช้วิธีลากเมาส์ค้างในพื้นที่ที่ต้องการเลือกและจุดสุดท้ายให้บรรจบที่จุดแรก Lasso Option Anti-alliased เป็นช่วยให้พื้นที่เลือกเรียบ ไม่ขรุขระ ทำให้งานดูเรียบร้อยมากขึ้น Option Bar ขณะทำงานที่ Lasso Tool
7. Polygonal Lasso Tool
เป็นการเลือกแบบสร้างขอบเป็นเส้นตรงหลายเหลี่ยม เป็นเลือกพื้นที่แบบรูปหลายเหลี่ยมโดยทำการ Click ที่จุดเริ่มต้น จากนั้นลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ จากนั้นแล้ว Click ตำแหน่งถัดไปซึ่งจะเกิดพื้นที่ที่เลือกเป็นแบบหลายเหลี่ยมจนกลับมายังจุดเริ่มต้นและ Click ที่ตำแหน่งเดิมจะเกิดเส้นประ Selection เกิดขึ้น
8. Magnetic Lasso Tool
เป็นเครื่องมือที่ทำงานเกาะขอบพื้นที่สีที่ใกล้เคียง การใช้งาน เลือกเครื่องมือ จากนั้น Click เมาส์ที่จุดเริ่มต้นจากเมาส์ลากไปยังบริเวณที่ต้องการเครื่องมือจะทำงานเลือกพื้นที่ในขอบเองโดยอัตโนมัติ การสิ้นสุดการทำงานโดยกลับไป Click จุดที่บรรจบกับจุดเริ่มต้นอีกครั้ง
9. Magic Wand Tool
Magic Wand Tool เป็นการเลือกพื้นที่อิงกับค่าสีของรูปเป็นสำคัญ โดยโปรแกรมจะเลือกเฉพาะค่าสีที่ใกล้เคียงที่ Click ดังนั้นวิธีนี้เหมาะสมกับการเลือกพื้นที่ที่ไม่มีสีแตกต่างกันหรือเป็นสีเดียวจะดีมาก การใช้งาน
10. การเลือกสี
ใช้ที่ Color Palette โดยการเลือกสีที่ต้องการ จากนั้น สีจะเกิดบนช่องสี Forground
ใช้ Swatches Palette
11. อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับการเทสี
Gradientและ Paint Bucker Too)
Paint Bucket Tool
เป็นการเทสีลงในภาพหรือพื้นที่ที่เลือก การใช้งาน
การสร้างหน้างานเพื่อสร้างเวบไซต์
Menu File > New (Ctrl+N) กำหนดค่าหน้างาน Name : กำหนดชื่องาน Preset : Custom Width : 770 Pixels Height : 420 Pixels (อาจกว้างกว่านี้ขึ้นอยู่กับงาน) Resolution : 72 Pixels/inch Color Mode : RGB Background Contect : White Toolbox Menu Bar Barba Bar Option Bar Palette Well Active Image Area